โรงเรียนบ้านแม่ระเมิง ตั้งอยู่ที่ ต. แม่สอง อ.ท่าสองยาง จ. ตาก ระยะทางจาก อ. ท่าสองยางถึงโรงเรียน 70 กิโลเมตร มีนักเรียนทั้งสิ้น 1455 คน อยู่ในเขตอุทยานแห่งชาติแม่เมย โรงเรียนใช้พลังงานไฟฟ้าจากระบบโซล่าเชลล์ ชุมชนเป็นชาวเขาเผ่ากะเหรี่ยงทั้งหมด ดังนั้นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในดรงเรียนจึงควรมีลักษณะดังนี้ เพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึง กระบวนการใช้เทคโนโลยีใดๆ เพื่อให้ได้มาซึ่ง สารสนเทศ (Information) เพื่อการ ตัดสินใจดำเนินงานใด ๆ
สารสนเทศ เป็นข้อสรุปที่ได้มาจาก กระบวนการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สังเคราะห์ หรือ ประมวลผล สรุปได้เป็นความรู้ใหม่ ที่บ่งบอกถึง อาการ สภาพ สถานะ ของเรื่องนั้น ๆ ในช่วงเวลาที่ศึกษาช่วงนั้น ๆ
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้ได้ สารสนเทศเรื่องต่าง ๆ เพื่อการนำไปใช้ในการ บริหารจัดการการเรียนการสอน หรือการดำเนินงานใดๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เช่น สารสนเทศเกี่ยวกับชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน เพื่อนำไปสู่การจัดการเรียนการสอน สารสนเทศ เกี่ยวกับนักเรียน ผลการเรียนนำไปใช้ในการ แก้ปัญหา หรือส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ของนักเรียน เป็นต้น
การได้มาซึ่งสารสนเทศ จะได้มาโดยวิธีใด ๆ ก็ได้ ซึ่งเดิม ใช้วิธี ออกแบบสอบถาม สำรวจ สัมภาษณ์ ฯลฯ ได้ข้อมูลมาแล้ว นำมา แจงนับ วิเคราะห์ สรุป กว่าจะได้ Information มา ส่วนมาก สายไปเสียแล้ว เพราะกระบวนการแบบเดิม ต้องใช้เวลา และแรงงาน ค่อนข้างมาก
ขั้นตอนการนำเทคโนโลยีมาใช้ในโรงเรียน
1.จุดประสงค์การนำคอมพิวเตอร์และการสื่อสารเข้ามาใช้ในโรงเรียน
ควรจะกำหนดจุดประสงค์ไว้ 3 ประการ
1. เพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ด้านต่าง ๆ สำหรับ นักเรียน และ ครู
2. เพื่อการบริหารจัดการในโรงเรียน (ระบบบริหารทั่วไป)
3. เพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้รายวิชาต่าง ๆ
2. สร้างความเข้าใจแก่บุคลากรทุกระดับ
ซึ่งจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงาน วัฒนธรรมการทำงาน ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่นำเข้ามาใช้ บุคลากรต้องพัฒนาทั้งทักษะทางเทคโนโลยี และพัฒนาความคิด วิเคราะห์ให้เข้าใจในกระบวนการทำงานทางเทคโนโลยี ซึ่งบางครั้งจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงระบบ วิธีการทำงาน ให้สอดคล้องกับวิธีทางเทคโนโลยี ต้องพัฒนาตนเองตลอดเวลา
จากบริบทของโรงเรียนบ้านแม่ระเมิงที่มีข้อจำกัดเรื่องไฟฟ้า การนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้จึงควรเลือกเพียงจุดประสงค์เดียวคือ การบริหารจัดการในโรงเรียนดังนี้
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) หมายถึง กระบวนการใช้เทคโนโลยีใดๆ เพื่อให้ได้มาซึ่ง สารสนเทศ (Information) เพื่อการ ตัดสินใจดำเนินงานใด ๆ
สารสนเทศ เป็นข้อสรุปที่ได้มาจาก กระบวนการรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์สังเคราะห์ หรือ ประมวลผล สรุปได้เป็นความรู้ใหม่ ที่บ่งบอกถึง อาการ สภาพ สถานะ ของเรื่องนั้น ๆ ในช่วงเวลาที่ศึกษาช่วงนั้น ๆ
การวิเคราะห์ สังเคราะห์ ให้ได้ สารสนเทศเรื่องต่าง ๆ เพื่อการนำไปใช้ในการ บริหารจัดการการเรียนการสอน หรือการดำเนินงานใดๆ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เช่น สารสนเทศเกี่ยวกับชุมชน ผู้ปกครอง นักเรียน เพื่อนำไปสู่การจัดการเรียนการสอน สารสนเทศ เกี่ยวกับนักเรียน ผลการเรียนนำไปใช้ในการ แก้ปัญหา หรือส่งเสริมกิจกรรมต่างๆ ของนักเรียน เป็นต้น
การได้มาซึ่งสารสนเทศ จะได้มาโดยวิธีใด ๆ ก็ได้ ซึ่งเดิม ใช้วิธี ออกแบบสอบถาม สำรวจ สัมภาษณ์ ฯลฯ ได้ข้อมูลมาแล้ว นำมา แจงนับ วิเคราะห์ สรุป กว่าจะได้ Information มา ส่วนมาก สายไปเสียแล้ว เพราะกระบวนการแบบเดิม ต้องใช้เวลา และแรงงาน ค่อนข้างมาก
ขั้นตอนการนำเทคโนโลยีมาใช้ในโรงเรียน
1.จุดประสงค์การนำคอมพิวเตอร์และการสื่อสารเข้ามาใช้ในโรงเรียน
ควรจะกำหนดจุดประสงค์ไว้ 3 ประการ
1. เพื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ด้านต่าง ๆ สำหรับ นักเรียน และ ครู
2. เพื่อการบริหารจัดการในโรงเรียน (ระบบบริหารทั่วไป)
3. เพื่อเป็นเครื่องมือสำหรับการเรียนรู้รายวิชาต่าง ๆ
2. สร้างความเข้าใจแก่บุคลากรทุกระดับ
ซึ่งจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงาน วัฒนธรรมการทำงาน ให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่นำเข้ามาใช้ บุคลากรต้องพัฒนาทั้งทักษะทางเทคโนโลยี และพัฒนาความคิด วิเคราะห์ให้เข้าใจในกระบวนการทำงานทางเทคโนโลยี ซึ่งบางครั้งจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงระบบ วิธีการทำงาน ให้สอดคล้องกับวิธีทางเทคโนโลยี ต้องพัฒนาตนเองตลอดเวลา
จากบริบทของโรงเรียนบ้านแม่ระเมิงที่มีข้อจำกัดเรื่องไฟฟ้า การนำเทคโนโลยีเข้ามาใช้จึงควรเลือกเพียงจุดประสงค์เดียวคือ การบริหารจัดการในโรงเรียนดังนี้
1.ด้าน Hardware
โรงเรียนจำเป็นต้องมีคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่าย (LAN) ชุดหนึ่ง
มีคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ ศูนย์ข้อมูลหรือ Server อย่างน้อย 1 ชุด และคอมพิวเตอร์ ตัวลูกอย่างน้อย 3 กลุ่ม (จำนวนนั้นขึ้นอยู่กับความสามารถและความต้องการ)
กลุ่มที่ 1 ผู้บริหาร และผู้ช่วยผู้บริหาร ทุกคน
กลุ่มที่ 2 หมวดวิชา งาน ฝ่ายต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด แนะแนว
กลุ่มที่ 3 ครูประจำชั้น หรือครูที่ปรึกษา
โรงเรียนจำเป็นต้องมีคอมพิวเตอร์ระบบเครือข่าย (LAN) ชุดหนึ่ง
มีคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่ ศูนย์ข้อมูลหรือ Server อย่างน้อย 1 ชุด และคอมพิวเตอร์ ตัวลูกอย่างน้อย 3 กลุ่ม (จำนวนนั้นขึ้นอยู่กับความสามารถและความต้องการ)
กลุ่มที่ 1 ผู้บริหาร และผู้ช่วยผู้บริหาร ทุกคน
กลุ่มที่ 2 หมวดวิชา งาน ฝ่ายต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด แนะแนว
กลุ่มที่ 3 ครูประจำชั้น หรือครูที่ปรึกษา
2. ด้าน Software
1.โรงเรียนจำเป็นต้องวิเคราะห์ว่า การบริหาร จัดการโรงเรียน (อย่างมีระบบ มีคุณภาพ) นั้น จำเป็นต้องใช้สารสนเทศใดบ้าง
2. สร้างระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูลที่ดี ต้องมีที่เดียวแก้ไขได้ที่เดียว ตามภาระงานรับผิดชอบ เช่น
- ข้อมูลเกี่ยวกับความประพฤตินักเรียน อยู่ที่ฝ่ายปกครอง
- ข้อมูลประวัตินักเรียนอยู่ที่ฝ่ายวิชาการ หรือ ธุรการ
- ข้อมูลผลการเรียนอยู่ที่ฝ่ายวิชาการ
- ข้อมูลด้านสุขภาพอยู่ที่ฝ่ายบริการ หรือ งานอนามัยโรงเรียน เป็นต้น
ฯลฯ
3. ออกแบบ Software ให้แต่ละงานมี Software เพื่อบันทึกข้อมูลของแต่ละฝ่าย แต่ละงาน โดยไม่ซ้ำซ้อนกัน เช่น ฝ่ายปกครองบันทึกประวัตินักเรียน โดยรายชื่อนักเรียนดึงมาจากฝ่ายธุรการ(ฝ่ายปกครองแก้ไขไม่ได้ ฝ่ายธุรการแก้ไขได้ฝ่ายเดียว) ฝ่ายปกครองบันทึกเฉพาะพฤติกรรม นักเรียน ในทำนองเดียวกันฝ่ายวิชาการก็บันทึกเฉพาะข้อมูลผล การเรียน โดยใช้เลขประจำตัวเป็นตัวอ้างอิง เชื่อมโยงกับชื่อ และประวัตินักเรียน
3. ออกแบบ Software เพื่อประมวลผลผลรวม เพื่อฝ่ายบริหารหรือฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ได้ข้อมูลหรือสารสนเทศ ที่ต้องการตามข้อ 1 ได้ทันที ไม่ต้องถามแต่ละฝ่าย เช่น ผู้บริหารต้องการรู้ข้อมูลของนักเรียน 1 คน ผู้บริหาร ระบุเลขประจำตัวนักเรียนลงไป เท่านั้นเอง ข้อมูลนักเรียนจะถูกประมูลผลขึ้นมาทันที เช่น
- ประวัติทั่วไปของนักเรียน
- ผลการเรียนของนักเรียนรายวิชาต่างๆ หน่วยการเรียนที่เรียน ที่ได้ เกรดเฉลี่ย การติด 0 ร มส.ฯลฯ
- ประวัตพฤติกรรม ความประพฤติ คะแนนพฤติกรรมคงเหลือ ฯลฯ
- ประวัติด้านสุขภาพ ด้านการ แนะแนว ฯลฯ ตามที่ออกแบบไว้
ในทำนองเดียวกัน สารสนเทศด้านอื่นๆ เช่น นักเรียนในเขตบริการ ชุมชน ฯลฯ ก็สามารถวิเคราะห์ ประมวลผล ดูได้ทันที ถ้าฐานข้อมูลแต่ละด้านมีความสมบูรณ์ มีการบริหาร จัดการให้ฐานข้อมูลมีความเป็นปัจจุบันเท่านั้น
1.โรงเรียนจำเป็นต้องวิเคราะห์ว่า การบริหาร จัดการโรงเรียน (อย่างมีระบบ มีคุณภาพ) นั้น จำเป็นต้องใช้สารสนเทศใดบ้าง
2. สร้างระบบฐานข้อมูล ฐานข้อมูลที่ดี ต้องมีที่เดียวแก้ไขได้ที่เดียว ตามภาระงานรับผิดชอบ เช่น
- ข้อมูลเกี่ยวกับความประพฤตินักเรียน อยู่ที่ฝ่ายปกครอง
- ข้อมูลประวัตินักเรียนอยู่ที่ฝ่ายวิชาการ หรือ ธุรการ
- ข้อมูลผลการเรียนอยู่ที่ฝ่ายวิชาการ
- ข้อมูลด้านสุขภาพอยู่ที่ฝ่ายบริการ หรือ งานอนามัยโรงเรียน เป็นต้น
ฯลฯ
3. ออกแบบ Software ให้แต่ละงานมี Software เพื่อบันทึกข้อมูลของแต่ละฝ่าย แต่ละงาน โดยไม่ซ้ำซ้อนกัน เช่น ฝ่ายปกครองบันทึกประวัตินักเรียน โดยรายชื่อนักเรียนดึงมาจากฝ่ายธุรการ(ฝ่ายปกครองแก้ไขไม่ได้ ฝ่ายธุรการแก้ไขได้ฝ่ายเดียว) ฝ่ายปกครองบันทึกเฉพาะพฤติกรรม นักเรียน ในทำนองเดียวกันฝ่ายวิชาการก็บันทึกเฉพาะข้อมูลผล การเรียน โดยใช้เลขประจำตัวเป็นตัวอ้างอิง เชื่อมโยงกับชื่อ และประวัตินักเรียน
3. ออกแบบ Software เพื่อประมวลผลผลรวม เพื่อฝ่ายบริหารหรือฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ได้ข้อมูลหรือสารสนเทศ ที่ต้องการตามข้อ 1 ได้ทันที ไม่ต้องถามแต่ละฝ่าย เช่น ผู้บริหารต้องการรู้ข้อมูลของนักเรียน 1 คน ผู้บริหาร ระบุเลขประจำตัวนักเรียนลงไป เท่านั้นเอง ข้อมูลนักเรียนจะถูกประมูลผลขึ้นมาทันที เช่น
- ประวัติทั่วไปของนักเรียน
- ผลการเรียนของนักเรียนรายวิชาต่างๆ หน่วยการเรียนที่เรียน ที่ได้ เกรดเฉลี่ย การติด 0 ร มส.ฯลฯ
- ประวัตพฤติกรรม ความประพฤติ คะแนนพฤติกรรมคงเหลือ ฯลฯ
- ประวัติด้านสุขภาพ ด้านการ แนะแนว ฯลฯ ตามที่ออกแบบไว้
ในทำนองเดียวกัน สารสนเทศด้านอื่นๆ เช่น นักเรียนในเขตบริการ ชุมชน ฯลฯ ก็สามารถวิเคราะห์ ประมวลผล ดูได้ทันที ถ้าฐานข้อมูลแต่ละด้านมีความสมบูรณ์ มีการบริหาร จัดการให้ฐานข้อมูลมีความเป็นปัจจุบันเท่านั้น